นาฏศิลป์

สารบั

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 นาฏยศัพท์และภาษาท่าทางในนาฏศิลป์ไทย

กิจกรรมที่  1       นาฏยศัพท์

กิจกรรมที่  2        ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทย


กิจกรรมที่  1 นาฏยศัพท์

คือ ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับลักษณะท่ารำ ที่ใช้ในการฝึกหัดเพื่อแสดงโขน ละคร เป็นคำที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย สามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่าง ๆ "นาฏย" หมายถึง เกี่ยวกับการฟ้อนรำ เกี่ยวกับการแสดงละคร "ศัพท์" หมายถึง เสียง คำ คำยากที่ต้องแปล เรื่อง เมื่อนำคำสองคำมารวมกัน ทำให้ได้ความหมายขึ้นมา

                                                                                 





กิจกรรมที่  2 ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ไทย

ภาษาท่านาฏศิลป์  เป็นการนำท่าทางต่างๆ  และสีหน้าที่มีอยู่ตามธรรมชาติ  เช่น  คำพูด กริยาอาการ  อารมณ์ ความรู้สึก  มาปฏิบัติเป็นท่าทางนาฏศิลป์ไทยที่มีความหมายแทนคำพูด ให้สอดคล้องกับจังหวะเพลงและการขับร้อง  การฝึกปฏิบัติ  การฝึกหัดภาษาท่าจะต้องฝึกให้ถูกต้องตามแบบแผนเพื่อจำได้สื่อความหมายได้ โดยตรง ซึ่งจะทำให้ผู้ชมเข้าใจความหมายที่ผู้แสดงต้องการสื่อความหมายมากขึ้นที่มาของภาษาท่า ที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์  แบ่งออกเป็น ๒  ประเภท คือภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ และ ภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์โดยตรง                            

                                                              ท่าท่าน          

                                                                     



                                                        ท่าแนะนำตัวเอง

                                      

                                                                         ท่าปฏิเสธ

                                                                         




 

                                                                            ท่าเรียก



ท่าไป










ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สุขศึกษา

 วิชาสุขศึกษา เรื่องที่ 1 การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน เรื่องที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางเพศและสุขอนามัยทางเพศ เมื่อนัก...