บทที่ 1 ทัศนศิลป์น่ารู้
บทที่ 2 งานทัศนศิลป์กับวิธีการสร้างสรรค์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
บทที่ 1แสง-เงากับการงาดภาพ
บทที่ 1 ทัศนศิลป์น่ารู้
ทัศนศิลป์น่ารู้
1.จังหวะและตำแหน่งกับสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ เมื่อเราได้เห็นสิ่งรอบตัวเรา เช่น เก้าอี้ ต้นไม้ ดอกไม้ ของเล่น เป็นต้น และเราจะเห็นจังหวะและตำแหน่ง
ลักษณะจังหวะของสิ่งต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลปะ แบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
1.จังหวะแบบเหมือนกันหรือซํ้ากัน หมายถึง การจัดช่วงจังหวะของสิ่งที่มี ลักษณะแบบเดียวกัน ต่อเนื่องกัน และมีระยะห่างเท่าๆ กัน ทําให้ดูมีระเบียบ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
1.จังหวะแบบเท่าๆ กัน เป็นการจัดภาพให3มีระยะเท่าๆ กัน ซํ้าๆ กัน และประสาน ต่อเนื่องไปในทิศทางเดียวกัน จังหวะแบบไม่เท่ากันของผีเสื้อ
2.จังหวะแบบไม่เท่ากัน เป็นการจัดให้มีการสลับหรือสับหว่าง โดยให้มีเสน่ รูปร่าง รูปทรง มีความหนาความบางไม่เท่ากัน และสีให้นํ้าหนักอ่อน-แก่ไม่เท่ากัน แต่มีความ สัมพันธ์กัน ซึ่งอาจทําให้เกิดความรู้สึกต่างๆ เช่น ตื่นเต้น ร่าเริง ขัดแย้ง ก้าวหน้า ไม่หยุดนิ่ง
1.จังหวะแบบสลับไปมา หมายถึง การจัดช่วงจังหวะของสิ่งที่มีลักษณะต่างกัน มาวางสลับกันอย่างต่อ เนื่อง ทําให้เกิดความน่าสนใจเพิ่มขึ้น
3.จังหวะแบบไหลลื่น หมายถึง การจัดช่วงจังหวะให้ได้ความรู้สึกต่อเนื่องเชื่อมโยง ทําให้เกิดความรู้สึกว่ามีการเคลื่อนไหว
บทที่ 2 งานทัศนศิลป์กับวิธีการสร้างสรรค์
งานทัศนศิลป์ที่เราพบเห็นอยู่ในชีวิตประจําวันมีอยู่หลายประเภท เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เป็นต้น โดยการสร้างสรรค์ผลงานแต่ละประเภท จะใช้วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับประเภทของผลงานนั้นๆ เช่น
ภาพวาดบทที่ 1แสง-เงากับการงาดภาพ
แสงและเงาเป็นองค์ประกอบหนึ่งในงานศิลปะ เพราะช่วยให้ภาพดูสวยขึ้นและมีมิติภาพวาดที่มีแสงเงาซึ่งจะช่วยให้รูปเหมือนจริง องค์ประกอบของภาพแสงและเงา มีดังนี้1.แสง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.แสงจากธรรมชาติ เช่น แสงจากดวงอาทิตย์ แสงจากดวงจันทร์ เป็นต้น
2.แสงจากมนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เข่น ไฟฉาย ตะเกียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น